วิดีโอ
สรุป
นี่คือสามเหตุผลว่าทำไมเราควรหยุดใช้พลังงานนิวเคลียร์
ข้อหนึ่ง: การแพร่ขยายของอาวุธนิวเคลียร์
เทคโนโลยีทางด้านนิวเคลียร์ เปิดประตูความขัดแย้งบนเวทีโลก
เพียงหนึ่งปีหลังจากการทดลองใช้ระเบิดนิวเคลียร์ครั้งแรก ในปี ค.ศ.1994
เมืองใหญ่สองเมืองถูกทำลายโดยระเบิดเพียงสองลูกเท่านั้น
หลังจากนั้นเทคโนโลยีปฏิกรณ์นิวเคลียร์พัฒนาได้ช้า
ในวัตถุประสงค์ด้านการผลิตพลังงาน
แต่ในกรณีของอาวุธนิวเคลียร์กลับตรงกันข้าม
มันจะเป็นไปไม่ได้เลยที่จะพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์
หากปราศจากการเข้าถึงเทคโลยีปฏิกรณ์นิวเคลียร์
ในสนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ ที่มีวัตถุประสงค์
เพื่อการเผยแพร่เทคโนโลยีปฏิกรณ์นิวเคลียร์ โดยไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์
มีความสำเร็จค่อนข้างจำกัด
ใน 40 ปีที่ผ่านมา ห้าชาติได้พัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของตนเอง
ด้วยเทคโนโลยีปฏิกรณ์นิวเคลียร์
ความจริงคือ การแยกแยะ โครงการอาวุธนิวเคลียร์ลับ
จาก การใช้พลังงานนิวเคลียร์อย่างสันติ นั้นยากมาก
ในปี 1970 ผู้นำด้านนิวเคลียร์ได้ขายเทคโลยีนิวเคลียร์สันติ
ให้แก่ประเทศอื่น ซึ่งพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์เป็นเวลาต่อมา
ทางไปสู่อาวุธนิวเคลียร์นั้น ถูกปูทางด้วยการใช้นิวเคลียร์อย่างสันติอยู่เสมอ
ข้อสอง: กากนิวเคลียร์และมลพิษ
เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ที่ถูกใช้แล้วไม่เพียงแต่มีกัมตภาพรังสีเท่านั้น แต่หาก
มีเคมีสสารที่มีพิษมาก เช่นพลูโตเนียม
ซึ่งใช้ระยะเวลาหลายพันปีถึงจะสูญเสียความอันตราย
และยังมีกระบวนการที่เรียกว่า การนำกลับมาใช้ใหม่ซึ่งคือ
การสกัดพลูโตเนียม จากกากนิวเคลียร์
มีจุดประสงค์สองอย่าง
คือเอาไปทำสร้างอาวุธนิวเคลียร์ หรือ นำกลับมาใช้เป็นเชื้อเพลิงใหม่
แต่การนำกลับมาใช้เป็นเชื้อเพลิงใหม่นั้นแทบนับนิ้วได้
เพราะว่าเราไม่มีเตาปฏิกรณ์สำหรับการนำมาใช้ใหม่
กากนิวเคลียร์ เพียงหยิบมือก็สามารถฆ่าคุณได้; ไม่กี่โล สามารถเอาไปทำระเบิดปรมาณู
แม้กระทั่งประเทศเยอรมณีก็อยู่หลายตันเลยทีเดียว
แค่ล้อเล่นน่า หลายสิบปีที่แล้วการนำมาใช้ใหม่เป็นความคิดที่ดี
อ้าว แล้วกากนิวเคลียร์จะไปอยู่ไหนหละ?
หลังจากทิ้งกากนิวเคลียร์ลงมหาสมุทรได้ถูกห้าม เราจึงทำการฝังมัน
แต่เราไม่สามารถหาสถานที่ ที่ มัน
จะปลอดภัยร้อยเปอร์เซนต์นับเป็นพัน ๆ ปี
มีโรงงานนิวเคลียร์เกือบ400โรงงาน ใน30ประเทศทั่วโลก
ซึ่งทำให้มีกากนิวเคลียร์หลายพันตันที่ต้องจัดการ
มีฟินแลนด์เพียงชาติเดียวเท่านั้นที่สนใจที่จะสร้าง
ที่เก็บกากนิวเคลียร์ถาวร
ข้อสาม: อุบัติเหตุและภัยพิบัติทางนิวเคลียร์
กว่า 60 ปีของการใช้พลังงานนิวเคลียร์ มีการเกิดอุบัติเหตุครั้งใหญ่ 7 ครั้ง
ในการจัดการกากนิวเคลียร์
สามในเจ็ดสามารถควบคุมสถานการณ์ได้ แต่ที่เหลือไม่สามารถควบคุมได้
ซึ่งทำให้มีการรั่วไหลของกัมมันตภาพรังสี ไปสู่สภาพแวดล้อมโดนรอบ
ในปี 1957, 1987 และ 2011 พื้นที่ขนาดใหญ่รัสเซีย, ยูเครนและญี่ปุ่น
ทำให้พื้นที่เหล่านั้นไม่เหมาะสมแก่การอยู่อาศัย
ยอดการเสียชีวิตไม่แน่นอนแต่สามารถคาดเดาได้ว่าอาจถึงหลายพันชีวิต
ภัยพิบัติเหล่านี้ที่เกิดขึ้นกับ เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์คนละชนิด
คนละประเทศ และคนละทศวรรษ
ตัวเลขเต่อนี้อาจทำให้เราถามตัวเอง
“10% ของการจัดหาพลังงานของโลก
คุ้มกับภัยพิบัติร้ายแรง ทุก 30 ปี ไหม?
แล้ว 30% คุ้มกับการที่จะเกิดเหตุการณ์แบบ ฟุกุชิมะหรือเชอร์โนบิล
ที่ไหนสักแห่งบนโลกทุก 10 ปี ไหม?
พื้นที่ไหนที่ต้องมีการปนเปื้อน จนเราพูดว่า ‘พอแล้ว’?
มันควรจะจบที่ตรงไหน? "
เราควรใช้พลังงานนิวเคลียร์ไหม ?
ข้อเสียมากกว่าข้อดี เราควรหยุด
แล้วมองลงไปยังเส้นทางนี้ แล้วหยุดเพื่อประโยชน์เสียที
หากคุณต้องการที่จะได้ดูด้านอื่น ของข้อโต้แย้ง
หรือการแนะนำสั้นๆ ของ พลังงานนิวเคลียร์คลิกที่นี่